ข่าวบันเทิง
Enterainment
Hot News.

Search
Close this search box.

โรคไบโพลาร์ อาการที่ผู้ป่วย เดี๋ยวอารมณ์ดีสลับกับอารมณ์ร้าย มีการรับมืออย่างไร

โรคไบโพลาร์

โรคไบโพลาร์ โรคที่หลายคนสับสน ว่าจริง ๆ แล้วเราเป็นโรคซึมเศร้า โรคเครียด หรือว่าเป็นโรคไบโพลาร์กันแน่ เรามีคำตอบ

โรคไบโพลาร์ หรือที่เรียกรู้จัก ในอีกชื่อหนึ่งว่า โรคอารมณ์สองขั้ว ผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้ พบว่ามีอาการ 2 ภาวะ ก็คือ ภาวะที่อารมณ์ฟุ้งซ่าน มีการคิดเร็ว ทำอะไรเร็ว ๆ จะอยู่ไม่ค่อยนิ่ง นอนน้อย รวมถึงแสดงอาการก้าวร้าว สลับกับภาวะซึมเศร้า ที่มีความรู้สึกเศร้า เบื่อหน่าย ท้อแท้ ไม่เกิดอยากกินอาหาร ในบางครั้งอาจเกิดความคิด ที่อยากจะฆ่าตัวตาย

การรักษาอาการ ผู้ป่วยโรคไบโพลาร์ จึงควรจะต้องมีการใช้ยา เพราะว่าโรคนี้ มีสาเหตุมาจาก สารสื่อประสาทในสมอง ที่ไม่สมดุลกัน ร่วมกับการพบจิตแพทย์ ในการรักษาที่เรียกว่า จิตบำบัด

ผู้ที่ใกล้ชิดผู้ป่วย หรือการ อยู่ร่วมกับคนเป็นไบโพล่า ควรให้ความดูแล ซึ่งจะเน้นไปที่การเข้าใจ ถึงพฤติกรรม การแสดงอาการของโรค อีกทั้งต้องรับฟัง และเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วย ดูแลให้ผู้ป่วยกินยาอยู่เสมอ พาไปพบจิตแพทย์ตามนัด ไม่ควรทำอะไร ที่เป็นการกระตุ้น ทำให้เกิดอาการของโรคขึ้นมา

โรคไบโพลาร์

โรคไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) เป็นโรคที่ผู้ป่วยจะเกิด อารมณ์แปรปรวนที่ ไม่เหมือนกันเลย หรือเรียกได้ว่าเหมือน 2 ขั้ว ก็คือ ขั้วหนึ่งจะมี อารมณ์ซึมเศร้า และอีกขั้วหนึ่งจะมี อารมณ์คึกคัก จนเกินคนทั่วไป

ผู้ป่วยมีอารมณ์ สลับกันไปมา สุขภาพ จิตใจบางทีก็จะมีอารมณ์ คึกคักผิดปกติ แต่สักพักก็จะซึมเศร้า โดยอาการที่เปลี่ยนไปมา ในแต่ละช่วงนั้น อาจจะเกิดขึ้นเป็นสัปดาห์ หรือเป็นเดือนนั้นแล้วแต่บุคคล ซึ่งเป็นโรคที่มี โอกาสเกิดขึ้นมาได้อีกมากถึง 80%

โรคไบโพลาร์ จะมีอาการทั้งหมด 2 ภาวะ คือ

ภาวะแมเนีย (Manic Episode) ผู้ป่วยจะมีอารมณ์ ที่รู้สึกมั่นใจในตัวเอง คิดฟุ้งซ่าน เคลื่อนไหวร่างกายรวดเร็ว ทำกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย นอนไม่ค่อยหลับ มีการใช้เงินฟุ่มเฟือย

มักจะทำกิจกรรม ที่เป็นความท้าทาย หรือถ้าหากมีการลงทุน ก็จะไม่ค่อยมีสติ ในการไตร่ตรองสักเท่าไหร่ จนอาจก่อหนี้สินมากมาย มีนิสัยก้าวร้าว มักชอบใช้ความรุนแรง ซึ่ง โรค ไบ โพ ลา ร์ ใน วัยรุ่น จะพบมากกว่าช่วงวัยอื่น

ภาวะซึมเศร้า (Depressive Episode) ผู้ป่วยจะมีอารมณ์ซึมเศร้า รู้สึกเบื่อหน่าย หดหู่ ไม่อยากทำอะไร ไม่ค่อยมีสมาธิ อยากอยู่นิ่ง ๆ มักจะนอนทั้งวัน บางครั้งจะมีอาการ นอนไม่หลับ มีพฤติกรรมการกิน ในปริมาณที่มากหรือไม่อยากกินอาหาร รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า บางครั้งเกิดความคิด อยากฆ่าตัวตายอีกด้วย

ไบโพลาร์ (Bipolar) สาเหตุนั้นมาจาก หลายปัจจัยร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทางชีวภาพ และปัจจัยทางสภาพแวดล้อม ไม่เพียงแค่มี ความเกี่ยวข้อง ทางพันธุกรรม

อีกทั้งยังมีความผิดปกติ จากสารสื่อประสาท ในสมองอีกด้วย หากพูดถึงปัจจัย ทางสภาพแวดล้อมนั้น ไบโพล่า กับ โรคซึมเศร้า เกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ เหมือนกับโรคซึมเศร้า โดยบางข้อมูลพบว่า อาการแบบแมเนีย เปรียบเสมือนกลไก การป้องกันตัวเอง เมื่อต้องเจอกับภาวะซึมเศร้า

อาการของผู้ป่วยโรคไบโพลาร์ ที่เกิดอารมณ์เปลี่ยนแปลง สลับกันไปมา จะมีอารมณ์ที่ร่าเริงผิดปกติ (ช่วงแมเนีย) กับอารมณ์ที่รู้สึกหดหู่ (ช่วงซึมเศร้า)

อาการที่เป็น สัญญาณเตือนว่า ควรจะต้องไปพบแพทย์ เมื่อพบว่าคนใกล้ชิด เกิดอาการที่อยู่ ในภาวะแมเนีย หรือรู้สึกซึมเศร้า เพียงแค่อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งอาการพวกนี้ จะทำให้เกิดปัญหา ในการใช้ชีวิตประจำวัน แนะนำว่าควรมา พบจิตแพทย์ เพื่อจะได้รับการวินิจฉัยโรค และได้รับการรักษาที่ถูกวิธีได้ทันเวลา

ไบโพลาร์คือโรค ที่มีสาเหตุ สารสื่อประสาทในสมอง ที่ไม่เหมือนคนทั่วไป นั่นก็คือ อยู่ในระดับที่ไม่สมดุล ด้วยเหตุนี้เอง การรักษาโรคดังกล่าว จึงเป็นการรักษา ที่ต้องอาศัยจิตแพทย์ ควบคู่กับการ ใช้ยาเป็นหลัก

โดยจิตแพทย์จะสั่งยา ในการควบคุม สารสื่อประสาท รวมถึงควบคุมอารมณ์ ในบางครั้งที่ผู้ป่วย อาจมีพฤติกรรมก้าวร้าว ซึ่งอาจจะเป็นอันตราย กับคนรอบข้าง และผู้ป่วยที่มีอาการ ทางจิตอย่างเห็นได้ชัด ก็จะถูกรับไว้รักษา แบบผู้ป่วยใน

โรคไบโพลาร์

ยาที่ใช้รักษา โรคไบโพลาร์ เป็นยาที่จะทำให้อารมณ์ ของผู้ป่วยไม่แปรปรวน แพทย์นำมาใช้รักษาอาการ ผู้ป่วยที่เป็นไบโพลาร์ ทั้งแบบฉุกเฉิน และในระยะยาว ซึ่งจะกำหนดปริมาณ ให้เหมาะสมกับผู้ป่วย

อย่างยาแก้ภาวะซึมเศร้า จะเอามาใช้รักษา ผู้ป่วยไบโพลาร์ ที่อยู่ในภาวะซึมเศร้า ยาคลายกังวล ซึ่งตัวยาประเภทนี้ จะทำให้ผู้ป่วย ลดความวิตก ความคิดฟุ้งซ่าน และถ้าผู้ป่วยนอนไม่หลับ ยาประเภทนี้ ก็จะทำให้ผู้ป่วย นอนหลับง่ายขึ้น

ไม่เพียงแค่ การรักษาโดยการใช้ยา ยังมีการรักษาที่เรียกว่า จิตบำบัดควบคู่กันไป ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วย สามารถเรียนรู้ และจัดการกับความเครียด ที่เกิดขึ้นได้มากยิ่งขึ้น

ประเด็นที่สำคัญ ในการรักษาโรคนี้ ก็คือ การกินยาตามที่ แพทย์สั่ง อย่างเคร่งครัด รวมถึงไปพบแพทย์ เพื่อเข้ารับการรักษา อย่างต่อเนื่อง ในผู้ป่วยบางราย ที่รักษาโดยใช้ยานั้น อาจจะไม่ได้ผล ก็จะมีการรักษา โดยอาศัยคลื่นไฟฟ้า (Electroconvulsant Therapy)

โรคไบโพลาร์ ถ้าเกิดภาวะแทรกซ้อน หรือมีอาการที่รุนแรง แนะนำว่าควรไปพบแพทย์ หรือถ้าเกิดอาการข้างเคียง ที่เกิดจากการกินยา ควรจะปรึกษาแพทย์ ไม่ควรหยุดยาเอง โดยเด็ดขาด

ไม่ควรใช้สารเสพติด และหลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงสถานการณ์ ที่จะทำให้เกิดความเครียด ทุกครั้งที่ไปพบแพทย์ ควรบอกอาการที่เกิดขึ้น ตามความเป็นจริงเสมอ

ถ้าคุณมีคนรัก หรือคนใกล้ชิด ป่วยเป็นโรคไบโพลาร์ สิ่งแรกที่สำคัญคือ ต้องทำความเข้าใจ อาการของไบโพลาร์ ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการ ที่ปรากฏให้เห็นนั้นไม่ใช่นิสัยที่เป็นอยู่แต่เดิม หรือผู้ป่วยเหล่านี้ ไม่ได้ตั้งใจที่จะ มีพฤติกรรมเหล่านั้น

โรคไบโพลาร์

ซึ่งนี่คืออาการของโรค ซึ่งคนที่ดูแลผู้ป่วย รวมถึงคนในครอบครัว เป็นเหมือนตัวช่วยสำคัญ ที่จะต้องดูแลผู้ป่วย อีกทั้งต้องให้ความร่วมมือ ทำตามแผนการรักษาของแพทย์ จะเห็นได้ว่าผู้ที่ใกล้ชิด ผู้ป่วยไบโพลาร์ จำเป็นต้องมีความเข้าใจ รวมถึงต้องศึกษา วิธีการรับมือ และการดูแลผู้ป่วย

มาทางส่วนของผู้ที่ใกล้ชิด และคนในครอบครัวอาจจะคิดว่า โรคไบโพล่า อันตรายไหม มันจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องเข้าใจ อาการของโรค คอยดูแลเอาใจใส่ รับฟัง และให้กำลังใจผู้ป่วย พยามยามให้ผู้ป่วย กินยาให้สม่ำเสมอ

และเฝ้าระวังไม่ให้ ผู้ป่วยลืมกินยา คอยเฝ้าดูอยู่ห่าง ๆระวังไม่ให้ผู้ป่วยทำอะไร ที่เป็นการเสี่ยงอันตราย คอยสอดส่องพฤติกรรม เรื่องการใช้เงินของผู้ป่วย รวมไปถึงติดตาม พฤติกรรมของผู้ป่วย ถ้าเกิดมีอาการที่รุนแรงขึ้น ควรรีบพาไปพบแพทย์

จนถึงทุกวันนี้ ยังไม่มีวิธีป้องกัน โรคไบโพลาร์ได้อย่างหายขาด เพราะ โรคไบโพลาร์แบบไม่รุนแรง ก็มี แต่ทุกคนสามารถป้องกัน และลดความรุนแรง ของโรคไบโพลาร์ให้น้อยลง ซึ่งการดูแลสุขภาพร่างกาย

รวมไปถึงสุขภาพจิตให้ดี รู้จักผ่อนคลาย ความตึงเครียด นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดทุกชนิด หากิจกรรมที่เหมาะสม เช่นอาจจะดู ข่าวบันเทิง เล่นกีฬา ดูหนัง ฟังเพลง เป็นต้น และสิ่งที่สำคัญ ในโลกยุคสมัยนี้คือ การฝึกทักษะการรับมือ และจัดการกับความเครียด ได้อย่างเหมาะสม @UFA-X10 

 

เรียบเรียงโดย อลิส

admin

admin